CMUGS EP17: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: กลุ่มชาติพันธุ์กับการเกษตรรูปแบบใหม่ Smart Farming

. จุฑามาศ โชคกิติคุณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .           ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ หนึ่งในคำจำกัดความของคำว่า “สังคมพหุวัฒนธรรม” ที่มีความหมายว่า สังคมที่มีความหลากหลายของคนและกลุ่มคนที่หล่อหลอมรวมกัน แต่ในมิติของความคิดและความรู้สึกของคนไทยจำนวนไม่น้อย พบว่า ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ ยังไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่าเป็นประชาชนของประเทศอย่างสมบูรณ์            

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP16: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: การเข้ามาของวัฒนธรรมเกาหลีกับการมาเป็นส่วนหนึ่งของเทรนธุรกิจอาหารในประเทศไทย

. กรณ์ธนัตถ์ รามณรงค์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . การเข้ามาของวัฒนธรรมข้ามพรมแดนจากเกาหลี กับคลื่นลูกใหญ่อย่าง Korean wave ที่ส่งผลต่อกระบวนทัศน์ในการดำเนินธุรกิจด้านอาหารในประเทศไทย ใครจะไปรู้จากการส่งออกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเกาหลีใต้จะสามารถเปลี่ยนอะไรหลาย ๆ อย่างของโลกได้ ประเทศไทยจะตามคลื่นลูกนี้ไปพร้อมๆ กับระดับโลก เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้หรือไม่

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP15: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: ท่าอากาศยานนานาชาติเบตงกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว

. คอลิค เหมแก้ว นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ —-               ท่าอากาศยานนานาชาติเบตง หรือ สนามบินเบตง ที่กำลังถูกพูดถึงอย่างมากในสื่อสาธารณะ หลังจากเที่ยวบินรอบปฐมฤกษ์ของสายการบินนกแอร์ จากท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองไปยังท่าอากาศยานนานาชาติเบตง เมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา แต่ได้ถูกยกเลิกการบินชั่วคราวในเวลาต่อมา

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP 14: คริปโทเคอร์เรนซี : สกุลเงินแห่งโลกอนาคตและความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม

วันนี้จะมาแลกเปลี่ยนความรู้กันใน Series ทางเลือกเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืน เปิด Series ด้วย Infographic จาก สุธินี รักกุศล นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ที่ได้สรุปเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ Cryptocurrency เข้ากับอนาคตความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม . คริปโทเคอร์เรนซีถือเป็นเงินสกุลดิจิทัลที่มีทบาทสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจในพื้นที่เสมือนบนโลกดิจิทัล ทว่ากระบวนการผลิตคริปโทเคอร์เรนซีในปัจจุบันนั้นยังคงสร้างผลกระทบต่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมการแก้ปัญหาดังกล่าวผ่านแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS Podcast – Coffee, Me, & PM0.1 ที่ดอยสุเทพกับขุนช่างเคี่ยน

Podcast ที่สอง ของ CMU Geographic Society วันนี้ พวกเราจะชวน “ใส่แว่นส่องโลก” ผ่านมุมมองของนักภูมิศาสตร์กับกาแฟ โดยมีนักศึกษาปริญญาโทสองท่านคือ อรรถชัย บุญประเสริฐและอารียา ติวะสุระเดช เพื่อเข้าไปสำรวจว่าฝุ่นละอองขนาดเล็กมาก (Nanoparticles) หรือ PM0.1 คืออะไรกับอาจารย์ ดร.

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: ใส่แว่นส่องโลก EP.6 – เก็บตกจาก Clubhouse ห้อง Climate Talks Thailand : ใครเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ?

ชยา วรรธนะภูติ ……………………………………………. เมื่อวันเสาร์ที่ 31 กรกฏาคม 2564 ใน Clubhouse ห้อง Climate Talks Thailand หัวข้อ Who Changes the Climate? ใครเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ? มีการพูดคุยในประเด็นที่ว่า

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: ใส่แว่นส่องโลก EP.5 – ภูมิศาสตร์ของความมั่นคงทางอาหาร เมือง และอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนไปในยุคโควิด-19

Podcast แรก ของ CMU Geographic Society วันนี้ พวกเราจะชวน “ใส่แว่นส่องโลก” ผ่านมุมมองของนักภูมิศาสตร์ปริญญาโทที่แตกต่างกันทั้ง 3 คนนี้ (แพร-อารียา โมบาย-ยลดา และ เตอร์-สิทธิณัฐ) พวกเขาจะช่วยเชื่อมโยงปัญหาโควิด เข้ากับความมั่นคงทางอาหาร การเปลี่ยนผ่านของเมือง และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์จากโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างน่าอัศจรรย์.“…[สืบเนื่องจากโควิด-19]

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: .ใส่แว่นส่องโลก EP4: Climate Change- ไม่เกี่ยวกับการเมือง? : มองผ่านกรณีน้ำท่วมเยอรมันนี

เผ่าไทย สินอำพล …………………………………………………. “ปัญหา climate change ไม่มีคำว่าการเมือง เพราะภัยพิบัติธรรมชาติทุกครั้ง ที่เกิดขึ้นจากภาวะโลกร้อนไม่ได้เจาะจงว่าจะเกิดกับรัฐบาลหรือฝ่ายค้าน แต่เกิดผลกระทบกับประชาชนและมนุษย์ทุกคน…”…ความใส่ใจเรื่องการจัดการปัญหาน้ำท่วมเชื่อมโยงเข้ากับ climate change และ GHGs และกลายเป็นยุทธศาสตร์ต่อรองสำคัญในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของสนามการเมืองในเยอรมนี…ตกลงแล้ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) เกี่ยวกับการเมืองหรือไม่ ?

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: เปิดโลกภูมิศาสตร์ EP2: เมื่อภูมิศาสตร์กลายเป็นภูมิศาสตร์อันหลากหลาย

อารียา ติวะสุระเดช นักศึกษาปริญญาโท สาขาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ——- ระหว่างการอ่านหนังสือและทบทวนวรรณกรรมด้านภูมิศาสตร์มนุษย์ในประเด็นต่าง ๆ ผู้เขียนสังเกตว่าบทความหลายชิ้นเลือกใช้คำว่า geographies หรือภูมิศาสตร์อันหลากหลาย ซึ่งทำให้ผู้เขียนเกิดความสงสัยว่ามันต่างจากการใช้คำว่า geography หรือภูมิศาสตร์อย่างไร เช่น Hybrid geographies (Whatmore, 2002),

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: เปิดโลกภูมิศาสตร์ EP1: ภูมิศาสตร์เบื้องต้น ใน ภูมิศาสตร์เบื้องต้น

เรียบเรียง     คอลิค เหมแก้ว,  อัษฎาวุธ อินทรมา ภาพ         อัษฎาวุธ อินทรมา                    ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีกับลูกหยาดน้ำฟ้า ภูมิศาสตร์ มช. ปี 64 ทุกคนด้วยนะครับ

แชร์ข้อความ:
Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save