Virtual Geography Speaker Series 06 – ทำไมเกษตรกรรายย่อยยังไม่หายไปจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: มุมมองจากลาว ไทยและเวียดนาม (Why do smallholder farmers persist in Southeast Asia? Perspectives from Laos, Thailand and Vietnam)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 6 เดือนมีนาคม 2565 เรื่อง ทำไมเกษตรกรรายย่อยยังไม่หายไปจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: มุมมองจากลาว ไทยและเวียดนาม (Why do smallholder farmers persist in Southeast Asia?

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 05 – การรู้รับปรับตัวข้ามท้องถิ่น: การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม การย้ายถิ่น และการรู้รับปรับตัวเชิงสังคมในชนบทของไทย (Translocal Resilience: Environmental Change, Migration and Social Resilience in Rural Thailand)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 5 เดือนกุมภาพันธ์ 2565 เรื่อง การรู้รับปรับตัวข้ามท้องถิ่น: การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม การย้ายถิ่น และการรู้รับปรับตัวเชิงสังคมในชนบทของไทย (Translocal Resilience: Environmental Change, Migration and Social

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 04 – การพัฒนางานวิจัยในด้านการปฏิสัมพันธ์: กรณีของการเมืองเรื่องวัฒนธรรมและการศึกษาผู้ย้ายถิ่น (Developing research in interactions: In the cases of cultural politics and migrant studies)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 4 ประจำเดือนมกราคม 2565 เรื่อง การพัฒนางานวิจัยในด้านการปฏิสัมพันธ์: กรณีของการเมืองเรื่องวัฒนธรรมและการศึกษาผู้ย้ายถิ่น (Developing research in interactions: In the cases of cultural

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 03 – ก้าวพ้นการเชื่อมต่อที่ตื้นเขิน: ความต้องการวิธีวิจัยการผสมในยุคอภิมหาข้อมูล (big data) (Moving beyond facile connections: The need for mixed methods in the era of “big data”)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 3 ประจำเดือนธันวาคม 2564 เรื่อง ก้าวพ้นการเชื่อมต่อที่ตื้นเขิน: ความต้องการวิธีวิจัยการผสมในยุคอภิมหาข้อมูล (big data) (Moving beyond facile connections: The need for

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปประเด็นสัมมนา Virtual Geography Speaker Series #2 บรรยายโดย ศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ Paul Robbins หัวข้อ “การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม”

ชยา วรรธนะภูติ1 และ อารียา ติวะสุระเดช2 1อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ……………………………………………………….. 1. ศาสตราจารย์ Paul Robbins ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ และคณบดีประจำ The Nelson Institute

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 02 – การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม (Exploring and Explaining Biodiversity: Quantitative and Qualitative Synergies in Environmental Research)

ขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจในวงการภูมิศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมชุดการสัมมนาครั้งที่ 2 หัวข้อ การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม (Exploring and Explaining Biodiversity: Quantitative and Qualitative Synergies in Environmental Research) บรรยายโดย Professor Paul

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปประเด็นสัมมนา Virtual Geography Speaker Series #1 บรรยายโดย ศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ James Sidaway

หัวข้อ “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของวารสาร Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” ชยา วรรธนะภูติภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ …………………………………………………….. 1. ศาสตราจารย์ James Sidaway ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์การเมือง (political geography) ประจำมหาวิทยาลัย

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 01 – “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของ Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” – Reflections on the disciplinary change from the vantage point of the Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)

ขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจในวงการภูมิศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมชุดการสัมมนาครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของ Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” – Reflections on the disciplinary change from the vantage

แชร์ข้อความ:
Read more

เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรใหม่ในระดับปริญญาเอก “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)”

ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรใหม่ในระดับปริญญาเอก “หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)” หลักสูตร 3 ปี เน้นการทำวิจัยเป็นหลัก โดยสมัครผ่านทางเวบไซต์ของบัณฑิตวิทยาลัย http://admission.grad.cmu.ac.th/ ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 25 เมษายน 2565ผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเบื้องต้นเพิ่มเติมได้ที่คุณณัฐพร วงค์โสมะ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แชร์ข้อความ:
Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save